ที่กล่าวมาเป็นแนวคิดตั้งต้นสำหรับเตรียมออกแบบระบบ และเลือกใช้รุ่นที่เหมาะสมกับงานค่ะ ที่จริงแล้วจะมีรายละเอียดอีกมาก
ควรเลือกปรึกษาบริษัทที่เชี่ยวชาญการออกแบบ ติดตั้ง และเซ็ต configuration อย่างเหมาะสม ตรงกับความต้องการของลูกค้า ใส่ใจ รับฟัง พร้อมทั้งเข้าใจเงื่อนไขต่างๆของลูกค้าเป็นอย่างดีนะคะ และเลือกบริษัทที่เน้นบริการหลังการขายด้วยจะดีมากๆค่ะ
สนใจขอคำปรึกษา และสำรวจสถานที่ได้ฟรี ติดต่อ 092 928 7922 (คุณแจง/ Solution Consultant) หรือผ่าน Line https://line.me/ti/p/XRXJF5wGab
เรื่องควรรู้เมื่อวางแผนติดตั้งกล้อง CCTV
เรื่องควรรู้เมื่อวางแผนติดตั้งกล้อง CCTV
หมวดหมู่: Our Services
"กล้องยังดีอยู่" ผู้ใช้งานองค์กรหลายรายอาจจะไม่ได้ให้ความสำคัญกับเรื่องกล้องวงจรปิด ใช้มานานนับ 10 ปี กล้องไม่เสียเลยไม่คิดจะเปลี่ยน และเมื่อเกิดเหตุการณ์ และนำภาพมาตรวจสอบ จึงพบว่าภาพคุณภาพต่ำจนไม่สามารถใช้วิเคราะห์อะไรได้
จริงๆแล้วกล้องวงจรปิดสามารถที่จะเก็บภาพในมุมโล่งๆได้ไกลมากค่ะ แต่หากนำภาพมาตรวจสอบ ถ้าผู้บุกรุกอยู่ไกลเกินไป ภาพที่เรานำมาซูมขยายก็จะแตกจนดูไม่ออกว่าผู้บุกรุกหน้าตาเป็นอย่างไร นอกจากนี้ยังมีเรื่องเทคโนโลยีการชดเชยแสง ความละเอียดของกล้อง และเรื่องสายสัญญาณ
วิธีแก้ปัญหาข้างต้นคือ ไปขอดูกล้องของคนอื่นร่วมด้วย เช่นกล้องตามร้านสะดวกซื้อ กล้องตามถนน กล้องตามอาคารสำนักงานใกล้เคียงเป็นต้น แต่กรณีแบบนี้ก็ต้องมีขั้นตอนการขอความร่วมมือยุ่งยากหน่อย หรือถึงแม้จะได้ภาพมา แต่คุณภาพของภาพก็อาจจะใช้ไม่ได้

เมื่อคุณต้องการจะติดตั้งกล้องวงจรปิด มีหลายข้อที่ควรคำนึงถึง
จุดประสงค์ในการติดกล้อง เพื่อช่วยให้ช่าง เลือกใช้อุปกรณ์ และออกแบบงานเดินสัญญาณได้อย่างเหมาะสมกับการใช้งาน และงบประมาณ
ความละเอียด (resolution) ของไฟล์ภาพที่คุณต้องยอมลงทุน ไม่จำเป็นต้องละเอียดมากนักก็ได้ค่ะ ประมาณ 2 หรือ 4 ล้านพิกเซล ก็ละเอียดใช้ได้แล้ว
ตำแหน่งติดตั้งทั้งภายใน และภายนอก มักจะเลือกติดตรงจุดที่เสี่ยงเช่นหน้าสำนักงาน โถงลิฟท์ ลานจอดรถ ชั้นดาดฟ้า หรือจุดที่ต้องการเฝ้าระวัง โดยปกติผู้ออกแบบจะมีโปรแกรมสำหรับประเมินรัศมีทำการของกล้องค่ะว่าติดตั้งจุดไหนบ้างถึงจะเหมาะสม ไม่ต้องกังวลว่าจะเกิดช่องโหว่ หรือเกรงว่ามุมกล้องจะทับซ้อนกัน
กล้องที่อยู่ภายนอก ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันกล้องด้วยนะคะ เช่นอาจจะเก็บกล้องไว้ในเฮ้าส์ซิ่งโลหะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันผู้บุกรุกโขมย
หรือทำลายกล้องค่ะ เพิ่มเติมด้วยการหามุมที่จะซ่อนกล้องเอาไว้ด้วยจะดีมาก เพื่อป้องกันผู้บุกรุกหลบหลีกมุมกล้อง
ภาพซูมไกลแสดงความแตกต่างของภาพที่ได้จากกล้องที่มีความละเอียดสูง และต่ำ

นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น อีกเรื่องหนึ่งที่สำคัญก็คือ งานเดินสายสัญญาณ
เลือกใช้ช่างที่มีทักษะฝีมือดี เข้าใจเรื่องสายสัญญาณ มืออาชีพ ไม่หมกเม็ด ไม่ลดสเปคสาย เพราะในอนาคตเมื่อเกิดปัญหา เป็นเรื่องยากมาก
ที่จะไล่ตรวจสอบสายเพื่อหาสาเหตุ เพราะสายอยู่ในท่อ ถูกฝังบนฝ่า หรือไม่ก็ฝังผนังไปแล้ว
เลือกใช้สาย security คุณภาพสูง เพื่อหลีกเลี่ยงสัญญาณภาพโดนรบกวน (signal Loss)
กรณีเดินสาย outdoor ควรออกแบบป้องกันสายถูกทำลายจากผู้บุกรุก สภาพอากาศ หรือสัตว์กัดแทะ
ที่ตั้งอุปกรณ์บันทึกภาพ (NVR-Network Video Recorder)และจอแสดงผล (Monitor) ตั้งอยู่บริเวณไหนบ้างเช่น หน้าป้อม รปภ. หรือ ในห้อง Control room
เพราะต้องคำนึงถึงเรื่องการเดินสายสัญญาณจากกล้องมาที่ NVR ด้วย
ภาพแสดงรายละเอียดคุณภาพการชีลด์ป้องกันสัญญาณรบกวนของสาย RG

เลือกประเภทของกล้องที่เหมาะกับการใช้งานและงบประมาณ
กล้องเชื่อมต่อเครือข่ายเน็ตเวิร์คหรือไม่ (Analog หรือกล้อง IP camera)
กล้องมีสาย หรือกล้องไร้สาย (Wire or Wireless)
กล้อง indoor หรือ outdoor (Dome or Bullet)
กล้อง 360 องศา (FishEye)
กล้องแบบที่หมุนไปหมุนมา ก้มเงย ซูมเข้าซูมออกได้ (PanTiltZoom-PTZ)
กล้องที่ตอนกลางคืนเป็นอินฟราเรด หรือเป็นภาพสี
กล้องต้องมีมาตรฐานอะไรบ้าง (Standardized Certifications)
ความละเอียด (resolution) ของไฟล์ภาพที่คุณต้องยอมลงทุน ไม่จำเป็นต้องละเอียดมากนักก็ได้ค่ะ ประมาณ 2 หรือ 4 ล้านพิกเซล ก็ละเอียดใช้ได้แล้ว
ตำแหน่งติดตั้งทั้งภายใน และภายนอก มักจะเลือกติดตรงจุดที่เสี่ยงเช่นหน้าสำนักงาน โถงลิฟท์ ลานจอดรถ ชั้นดาดฟ้า หรือจุดที่ต้องการเฝ้าระวัง โดยปกติผู้ออกแบบจะมีโปรแกรมสำหรับประเมินรัศมีทำการของกล้องค่ะว่าติดตั้งจุดไหนบ้างถึงจะเหมาะสม ไม่ต้องกังวลว่าจะเกิดช่องโหว่ หรือเกรงว่ามุมกล้องจะทับซ้อนกัน
กล้องที่อยู่ภายนอก ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันกล้องด้วยนะคะ เช่นอาจจะเก็บกล้องไว้ในเฮ้าส์ซิ่งโลหะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันผู้บุกรุกโขมย
หรือทำลายกล้องค่ะ เพิ่มเติมด้วยการหามุมที่จะซ่อนกล้องเอาไว้ด้วยจะดีมาก เพื่อป้องกันผู้บุกรุกหลบหลีกมุมกล้อง
ภาพซูมไกลแสดงความแตกต่างของภาพที่ได้จากกล้องที่มีความละเอียดสูง และต่ำ

นอกจากที่กล่าวมาข้างต้น อีกเรื่องหนึ่งที่สำคัญก็คือ งานเดินสายสัญญาณ
เลือกใช้ช่างที่มีทักษะฝีมือดี เข้าใจเรื่องสายสัญญาณ มืออาชีพ ไม่หมกเม็ด ไม่ลดสเปคสาย เพราะในอนาคตเมื่อเกิดปัญหา เป็นเรื่องยากมาก
ที่จะไล่ตรวจสอบสายเพื่อหาสาเหตุ เพราะสายอยู่ในท่อ ถูกฝังบนฝ่า หรือไม่ก็ฝังผนังไปแล้ว
เลือกใช้สาย security คุณภาพสูง เพื่อหลีกเลี่ยงสัญญาณภาพโดนรบกวน (signal Loss)
กรณีเดินสาย outdoor ควรออกแบบป้องกันสายถูกทำลายจากผู้บุกรุก สภาพอากาศ หรือสัตว์กัดแทะ
ที่ตั้งอุปกรณ์บันทึกภาพ (NVR-Network Video Recorder)และจอแสดงผล (Monitor) ตั้งอยู่บริเวณไหนบ้างเช่น หน้าป้อม รปภ. หรือ ในห้อง Control room
เพราะต้องคำนึงถึงเรื่องการเดินสายสัญญาณจากกล้องมาที่ NVR ด้วย
ภาพแสดงรายละเอียดคุณภาพการชีลด์ป้องกันสัญญาณรบกวนของสาย RG

เลือกประเภทของกล้องที่เหมาะกับการใช้งานและงบประมาณ
กล้องเชื่อมต่อเครือข่ายเน็ตเวิร์คหรือไม่ (Analog หรือกล้อง IP camera)
กล้องมีสาย หรือกล้องไร้สาย (Wire or Wireless)
กล้อง indoor หรือ outdoor (Dome or Bullet)
กล้อง 360 องศา (FishEye)
กล้องแบบที่หมุนไปหมุนมา ก้มเงย ซูมเข้าซูมออกได้ (PanTiltZoom-PTZ)
กล้องที่ตอนกลางคืนเป็นอินฟราเรด หรือเป็นภาพสี
กล้องต้องมีมาตรฐานอะไรบ้าง (Standardized Certifications)

Source: Panasonic Connect Europe
https://www.freepik.com/
https://interlink.co.th/
Article by Orapin/Viewsecure
https://www.freepik.com/
https://interlink.co.th/
Article by Orapin/Viewsecure
12 มกราคม 2568
ผู้ชม 217 ครั้ง